ปราสาทเมืองที แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานของจังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ในเขตบริเวณวัดจอมสุทธาวาส บ้านเมืองที ต.เมืองที อ.เมือง จ.สุรินทร์
การเดินทาง
จากตัวเมืองสุรินทร์ไปตามถนนเส้นทางหลวงหมายเลข 226 ระยะทางรวมโดยประมาณ 19 กิโลเมตร และห่างจากเมืองประวัติศาสตร์ "เมืองจารพัต" ระยะทางรวมโดยประมาณ 13 กิโลเมตร ที่...ซึ่งมีความเกี่ยวพันธ์ถึงความเป็นมาของ "เชียงไชย" ผู้ปกครองเืมืองจารพัตเมื่อครั้งในอดีตได้ร่วมมือกับ "เชียงปุม" จับช้างหลวงที่หลุดจากอยุธยาได้ ( เชียงปุม ผู้ซึ่งปกครองเมืองสุรินทร์ในกาลต่อมา)
ปราสาทเมืองที
ปราสาทเมืองที บ้านเมืองที ตำบลเมืองที อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นธาตุก่อด้วยอิฐ ถือปูน 5 หลัง สร้างรวมกันเป็นหมู่บนฐานอิฐเดียวกัน ปัจจุบันหักพังเหลือเพียง 3 หลัง คือ หลังกลาง หลังที่มุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ธาตุหลังกลางมีขนาดใหญ่ที่สุด เนื่องจากการดัดแปลงในชั้นหลัง ส่วนยอดทำเป็นแบบตัวเรือนธาตุซ้อนกัน 3 ชั้น ส่วนบนหักที่เหลืออีก 2 องค์ มีขนาดและลักษณะคล้ายคลึงกัน จากแผนผัง และลักษณะของสถาปัตยกรรม ปราสาทเมืองทีจัดเป็นโบราณสถานศิลปะลาวที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ราวพุทธศตวรรษที่ 23 - 24
Prasat Muang Thi (Prasat Muang Tee , Prasat Muang Thee)
Prasat Muang Thi is situated at Ban Muang Thi , Tambon Muang Thi , Amphoe Muang Surin. It was built in brick and mortar into a group of five towers , on a single brick base. Only three towers still remain at present the one in the middle and those in the northeast and southwest corners. The main tower in the middle which is the largest one due to some later alteration has a three - tiered superstructure , imitating the shape of its body, with the top part disappeared. The remaining two corner towers have the same size and shape. From the plan and architecture, Prasat Muang Thi is a sanctuary influenced by Laotian art that had been altered during the Ayutthaya - Rattanakosin periods, Ca 18th - 19th century A.D.
ปราสาทเมืองที อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทแบบเขมรที่ได้รับการดัดแปลงในสมัยหลัง เช่นเดียวกับปราสาทศีขรภูมิ ก่อด้วยอิฐฉาบปูน มีอยู่ 5 หลัง สร้างรวมกันเป็นหมู่อยู่บนฐานเดียวกัน ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 3 หลัง ซึ่งมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมไม้สิบสอง หลังกลางมีขนาดใหญ่ที่สุด มีบันไดทางขึ้นทั้ง 4 ด้าน ส่วนหลังคาทำเป็นชั้น มี 3 ชั้น เลียนแบบตัวเรือนธาตุ ส่วนยอดบนหักหาย นับเป็นโบราณสถานเขมรอีกแบบหนึ่งที่นิยมทำ คือ มีปราสาทหลังกลางเทียบเท่าเขาพระสุเมรุ และมีปรางค์มุมทั้งสี่ตามความเชื่อในลัทธิศาสนาพราหมณ์ แต่ไม่พบจารึก หรือลวดลายทางศิลปะที่สามารถบอกได้ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด
Prasat Muang Thi , Amphoe Muang. This Mhmer-style sanctuary features a set of mortared brick pagodas on the same base. Originally there were five pagodas but now only three remain. The sanctuary was modified at the same time as the nearby Si Khoraphum sanctuary. The layout of the sanctuary is square with indented corners. The middle pagoda is the largest, with access by stairways on four sides. The apex of the three - tiered roof is missing. The style is popular in ancient Khmer sanctuaries, and originated from beliefs of Brahminism. The middle pagoda symbolises Mount Meru (a mythical mountain at the centre of the universe and home of the gods), surrounded by pagodas at each of the four corners. There is no indication of the date of its construction.
This Khmer temple was modified. The brick - and - concrete complex is dominated by one principal tower, or prang, at the center, representing Mount Meru, the abode of God. Four smaller prangs, only three of which remain now, are located at each corner of the principal one, representing the subordinate mountains in which lower Gods dwell. The remains show that these prangs are on 12 - cornered indented square platform.
สถานที่ติดต่อ : Contact Address
สำนักงานจังหวัดสุรินทร์ : Surin Province Office => Tel. +66 (0)44 512 039
สถานีตำรวจภูธรเมืองสุรินทร์ : Surin Police Station => Tel. +66 (0)44 511 007
โรงพยาบาลสุรินทร์ : Surin Hospital => +66 (0)44 518 425
ททท. สนง. สุรินทร์ : Tourism Authority of Thailand , Surin => Tel. +66 (0)44 518 529
หมายเหตุ : พบข้อมูลที่ไม่ตรงกันจากป้ายที่แสดงข้อมูลทั้งสองป้ายใกล้กับปราสาทเมืองที ว่า...ปราสาทเมืองทีจัดเป็นโบราณสถานศิลปะลาว ส่วนอีกป้ายแสดงไว้ว่า.... เป็นปราสาทแบบเขมร
ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง
1. ขุดพบพระพุทธรูป เทวรูป ณ หมู่บ้านจารพัต , ประวัติ และความเป็นมา เมืองจารพัต
2. ปราสาทศีขรภูมิ อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์
การเดินทาง
จากตัวเมืองสุรินทร์ไปตามถนนเส้นทางหลวงหมายเลข 226 ระยะทางรวมโดยประมาณ 19 กิโลเมตร และห่างจากเมืองประวัติศาสตร์ "เมืองจารพัต" ระยะทางรวมโดยประมาณ 13 กิโลเมตร ที่...ซึ่งมีความเกี่ยวพันธ์ถึงความเป็นมาของ "เชียงไชย" ผู้ปกครองเืมืองจารพัตเมื่อครั้งในอดีตได้ร่วมมือกับ "เชียงปุม" จับช้างหลวงที่หลุดจากอยุธยาได้ ( เชียงปุม ผู้ซึ่งปกครองเมืองสุรินทร์ในกาลต่อมา)
ปราสาทเมืองที
ปราสาทเมืองที บ้านเมืองที ตำบลเมืองที อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นธาตุก่อด้วยอิฐ ถือปูน 5 หลัง สร้างรวมกันเป็นหมู่บนฐานอิฐเดียวกัน ปัจจุบันหักพังเหลือเพียง 3 หลัง คือ หลังกลาง หลังที่มุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ธาตุหลังกลางมีขนาดใหญ่ที่สุด เนื่องจากการดัดแปลงในชั้นหลัง ส่วนยอดทำเป็นแบบตัวเรือนธาตุซ้อนกัน 3 ชั้น ส่วนบนหักที่เหลืออีก 2 องค์ มีขนาดและลักษณะคล้ายคลึงกัน จากแผนผัง และลักษณะของสถาปัตยกรรม ปราสาทเมืองทีจัดเป็นโบราณสถานศิลปะลาวที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ราวพุทธศตวรรษที่ 23 - 24
Prasat Muang Thi (Prasat Muang Tee , Prasat Muang Thee)
Prasat Muang Thi is situated at Ban Muang Thi , Tambon Muang Thi , Amphoe Muang Surin. It was built in brick and mortar into a group of five towers , on a single brick base. Only three towers still remain at present the one in the middle and those in the northeast and southwest corners. The main tower in the middle which is the largest one due to some later alteration has a three - tiered superstructure , imitating the shape of its body, with the top part disappeared. The remaining two corner towers have the same size and shape. From the plan and architecture, Prasat Muang Thi is a sanctuary influenced by Laotian art that had been altered during the Ayutthaya - Rattanakosin periods, Ca 18th - 19th century A.D.
ปราสาทเมืองที อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทแบบเขมรที่ได้รับการดัดแปลงในสมัยหลัง เช่นเดียวกับปราสาทศีขรภูมิ ก่อด้วยอิฐฉาบปูน มีอยู่ 5 หลัง สร้างรวมกันเป็นหมู่อยู่บนฐานเดียวกัน ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 3 หลัง ซึ่งมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมไม้สิบสอง หลังกลางมีขนาดใหญ่ที่สุด มีบันไดทางขึ้นทั้ง 4 ด้าน ส่วนหลังคาทำเป็นชั้น มี 3 ชั้น เลียนแบบตัวเรือนธาตุ ส่วนยอดบนหักหาย นับเป็นโบราณสถานเขมรอีกแบบหนึ่งที่นิยมทำ คือ มีปราสาทหลังกลางเทียบเท่าเขาพระสุเมรุ และมีปรางค์มุมทั้งสี่ตามความเชื่อในลัทธิศาสนาพราหมณ์ แต่ไม่พบจารึก หรือลวดลายทางศิลปะที่สามารถบอกได้ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด
Prasat Muang Thi , Amphoe Muang. This Mhmer-style sanctuary features a set of mortared brick pagodas on the same base. Originally there were five pagodas but now only three remain. The sanctuary was modified at the same time as the nearby Si Khoraphum sanctuary. The layout of the sanctuary is square with indented corners. The middle pagoda is the largest, with access by stairways on four sides. The apex of the three - tiered roof is missing. The style is popular in ancient Khmer sanctuaries, and originated from beliefs of Brahminism. The middle pagoda symbolises Mount Meru (a mythical mountain at the centre of the universe and home of the gods), surrounded by pagodas at each of the four corners. There is no indication of the date of its construction.
This Khmer temple was modified. The brick - and - concrete complex is dominated by one principal tower, or prang, at the center, representing Mount Meru, the abode of God. Four smaller prangs, only three of which remain now, are located at each corner of the principal one, representing the subordinate mountains in which lower Gods dwell. The remains show that these prangs are on 12 - cornered indented square platform.
สถานที่ติดต่อ : Contact Address
สำนักงานจังหวัดสุรินทร์ : Surin Province Office => Tel. +66 (0)44 512 039
สถานีตำรวจภูธรเมืองสุรินทร์ : Surin Police Station => Tel. +66 (0)44 511 007
โรงพยาบาลสุรินทร์ : Surin Hospital => +66 (0)44 518 425
ททท. สนง. สุรินทร์ : Tourism Authority of Thailand , Surin => Tel. +66 (0)44 518 529
หมายเหตุ : พบข้อมูลที่ไม่ตรงกันจากป้ายที่แสดงข้อมูลทั้งสองป้ายใกล้กับปราสาทเมืองที ว่า...ปราสาทเมืองทีจัดเป็นโบราณสถานศิลปะลาว ส่วนอีกป้ายแสดงไว้ว่า.... เป็นปราสาทแบบเขมร
ดู ปราสาทเมืองที ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า
ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง
1. ขุดพบพระพุทธรูป เทวรูป ณ หมู่บ้านจารพัต , ประวัติ และความเป็นมา เมืองจารพัต
2. ปราสาทศีขรภูมิ อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น